หมวดที่ 4 การจัดการของเสีย

ปริมาณการใช้ทรัพยากร ปี 2566

ปริมาณของเสีย

Loading..........

The Data is Not Available

รายละเอียด

หลักฐาน

4.1 การจัดการของเสีย

4.1.1 การจัดการขยะในหน่วยงาน

      มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้น
      ติดป้ายบ่งชี้ขยะแต่ละประเภทอย่างถูกต้อง
      มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภททุกเดือน
      มีจุดพักขยะของหน่วยงาน
      มีการจัดทำเส้นทางการจัดการขยะแต่ละประเภทในสำนักงาน
      มีการตรวจสอบการทิ้งขยะที่ถูกต้องในแต่ละจุด
     มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
      ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.1.2 การรณรงค์ สร้างความตระหนัก เพื่อลดปริมาณขยะ

     การรณรงค์ลดใช้โฟม หรือเป็นองค์กรปลอดโฟม
      การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติกในการซื้อของจากร้านค้า หรือมีจุดบริการยืม-คืนถุงผ้า ให้กับบุคลากร
      การรณรงค์ใช้แก้วน้ำส่วนตัวแทนการใช้แก้วน้ำจากร้านค้า
      การใช้กล่องใส่อาหารส่วนตัวแทนการใช้บรรจุภัณฑ์จากร้านค้า
      ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.1.3 มีกิจกรรมรณรงค์ สร้างความตระหนัก แนวทางการจัดการขยะในสำนักงาน หรือการลดขยะของหน่วยงาน (นอกเหนือจากข้อ 4.1.2)  (ระบุกิจกรรมและภาพประกอบ)

  1. กิจกรรม DIY by ARIT
  2. โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพของมหาวิทยาลัย กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสรรค์นวัตกรรมสู่การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
  3. กิจกรรมฐานการเรียนรู้ เรื่องการบริหารจัดการขยะภายในสำนักงานที่สามารถลดปัญหาขยะ และปัญหาสิ่งแวดล้อม ตามนโยบาย Green University ในกิจกรรม “รักนะ VRU” ของงานวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชา VGE 117

      ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.2 การจัดการน้ำเสีย (เลือกข้อใดข้อหนึ่ง 4.2.1 หรือ 4.2.2 ตามขนาดของหน่วยงาน)

4.2.1 กรณีอาคารหน่วยงานมีขนาดน้อยกว่า 5,000 ตร.ม.

      กำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลจัดการน้ำเสียของหน่วยงาน
      มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะทุกจุด
      มีการดูแลทำความสะอาดถังดักไขมัน
      มีการตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้งานของถังดักไขมัน และมีผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้ง (กรณีพื้นที่ใช้สอยของอาคารมากว่า 5,000 ตร.ม.)
     ◻ ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.2.2 อาคารหน่วยงานมีขนาดมากกว่า 5,000 ตร.ม.

      ◻ กำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลจัดการน้ำเสียของหน่วยงาน
      ◻ มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะทุกจุด
      ◻ มีการดูแลทำความสะอาดถังดักไขมัน
      ◻ มีการตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้งานของถังดักไขมันและมีผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้ง (กรณีพื้นที่ใช้สอย ของอาคารมากกว่า ๕,๐๐๐ ตร.ม.)
      ◻ ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้