4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยมีแนวทาง ดังนี้

  1. การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล
  2. มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีการมีตะแกรงดักเศษอาหาร
  3. มีบ่อดักไขมัน มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
  4. มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (หากมีพื้นที่ของอาคารน้อยกว่า ๕,๐๐๐ ตร.ม.จะไม่มีกฎหมายกำหนด)

– การกำหนดผู้รับผิดชอบดุแลการจัดการน้ำเสีย
– มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสม
– เส้นทางการจัดการน้ำเสีย
– การบำบัดน้ำเสียและการตรวจวัดคุณภาพน้ำ
– ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำสระน้ำบริเวณอาคารสำนัก2562

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

  1. มีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมันตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน
  2. มีการนำเศษอาหาร น้ำมันและไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง
  3. มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
  4. มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ

– มีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร
– มีการนำเศษอาหารไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง